ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
SAR ศูนย์
SAR ปีการศึกษา 2561
SAR ปีการศึกษา 2562
SAR ปีการศึกษา 2563
SAR ปีการศึกษา 2564
SAR ปีการศึกษา 2565
SAR ปีการศึกษา 2566

สารสนเทศ
สารสนเทศ 2561
สารสนเทศ 2562
สารสนเทศ 2563
สารสนเทศ 2564
poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก


ผลพัฒนาผู้เรียนออนไลน์

ผลพัฒนาผู้เรียนออนไลน์ ปีการศึกษา 2565 >>> คลิ๊ก 

ผลพัฒนาผู้เรียนออนไลน์ ปีการศึกษา 2564 >>> คลิ๊ก 

ผลพัฒนาผู้เรียนออนไลน์ ปีการศึกษา 2563 >>> คลิ๊ก 


  

งานวิจัยการศึกษา
    เรื่อง : การศึกษาพฤติกรรมการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

เจ้าของผลงาน : นางสาวจิรนันท์ เหลืองเอี่ยม
อังคาร ที่ 23 เดือน มีนาคม พ.ศ.2564
เข้าชม : 1286    จำนวนการดาวน์โหลด : 1821 ครั้ง
Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
บทคัดย่อ
 
          การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองที่มุ่งศึกษาพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียนที่มีต่อรายการอาหารของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดภูเก็ต มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน ที่มีความบกพร่องทาวสติปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือนักเรียนที่ กำลังศึกษาชั้นเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา  ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2563 ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดภูเก็ต ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียน  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการหาความถี่


          ผลการวิจัยปรากฏว่าพฤติกรรมการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน พบว่าผลการวิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาที่มีต่อการรับประทานอาหารกลางวันของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดภูเก็ต โดยการสังเกตพฤติกรรมเป็น 3 ระดับ คือ 1 หมายถึง นักเรียนไม่ยอมรับประทาน แสดงพฤติกรรมการหลีกหนีหรือปฏิเสธการรับประทานอาหาร ควรได้รับการเสริมแรง 2 หมายถึง นักเรียนรับประทานอาหารโดยมีการกระตุ้น ชี้นำ ชักชวนให้ผู้อื่นสนใจในการรับประทานอาหารของนักเรียน และ 3 หมายถึง นักเรียนรับประทานอาหารโดยไม่ต้องกระตุ้น

          ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการรับประทานอาหารทั้ง 5 สัปดาห์ พบว่านักเรียนควรได้รับการเสริมแรงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 55.10 และกระตุ้น ชักชวนหรือชี้นำ คิดเป็นร้อยละ 40.82 ในการรับประทานอาหารกลางวันตลอดระยะเวลาที่ทำการวิจัย ทั้งนี้ในยังพบว่าผู้เรียนจะชอบการที่มีคนชื่นชมตลอดเวลาที่รับประทานอาหาร ซึ่งยังสังเกตพบว่านักเรียนจะแสดงอาการหลีกหนีการนำอาหารเข้าปากแต่หากนำอาหารเข้าปากได้จะแสดงอาการอาเจียนออกมา และจากการประเมินการเจริญเติบโตพบว่านักเรียนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

ดาวโหลด 

https://drive.google.com/file/d/1P9TgU0WW5d__VSRySB7YYNx5uwELcyaQ/view?usp=sharing



ดาวน์โหลด  ( Fulltext )  ( บทคัดย่อ ) 

งานวิจัยการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      การใข้ชุดกิจกรรมการตัดกระดาษ เพี่อพัฒนา ทักษะการใช้กรรไกร ของนักเรียบบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรีอสุขภาพ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดภูเก็ด 23/เม.ย./2565
      การพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กที่มืความบกพร่องทางด้านสติปัญญาด้วย กิจกรรมเกมการแข่งขัน ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดภูเก็ต ปีการศึกษา 2564 23/เม.ย./2565
      การศึกษาความสามารถในการเขียนพยัญชนะตามรอยประของนักเรียนบกพร่องทาง ร่างกาย หรือ การเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ โดยใช้แบบฝึกการเขียนพยัญชนะตามรอยประ 23/เม.ย./2565
      เรีอง ผลของการใช้ชุดฝึกทักษะและการสื่อการเรียนรู้ค่าจำนวนตัวเลข 1-5 นักเรียนออทิสติก 23/เม.ย./2565
      การใช้กิจกรรม เพื่อเพื่มความสามารถการรอคอย ของบุคคลออทิสติก 23/เม.ย./2565